วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 11 องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว

องค์กรระหว่างประเทศ



1.องค์กรระหว่างประเทศที่ดำเนินการโดยรัฐ
ก.องค์กรระหว่างประเทศที่ดำเนินการในระดับโลกโดยภาครัฐ
องค์กรที่สำคัญได้แก่

1.1 องค์กรการท่องเที่ยวโลก ( word tourism organization: WTO)
องค์การท่องเที่ยวโลก ป็นองค์การที่จัดตั้งขึ้นตามวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวนานาชาติในระดับระหว่างรัฐบาล โดยจัดตั้งเป็นองค์กรการที่มีชื่อว่า Internation Union of Tourist Organization ในปี 2468
องค์การท่องเที่ยวโลกมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้ง ดังนี้


1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร
3. เพื่อดำเนินการตามบทบาทด้านการท่องเที่ยวเป็นสำคัญ

องค์กรและหน้าที่ขององค์การท่องเที่ยวโลก ได้แก่
1.สมัชชา (General Assembly)
2.คณะมนตรีบริหาร (Executive Council)
3.สำนักงานเลขาธิการ(Secretariat)
4.สำนักงานเลขาธิการภูมิภาค (Regional Secretariat)
5.คณะกรรมการธิการประจำภูมิภาค(Regional Commissions)

ผู้แทนประจำแต่ละภูมิภาคดูแลจะดำเนินการตามแผนงาน ตามวัตถุประสงค์ที่องค์การท่องเที่ยวโลกกำหนดในด้านเทคนิค ด้านการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ตามแนวทาง 6 ประการ คือ

1.การให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา (Cooperation for Develepment)
2.การให้ความรู้และฝึกอบรม (Education and Training)
3.ด้านสิ่งแวดล้อมและการวางแผน (Environment and Planning)
4.ด้านสถิติและการวิจัยตลาด (Statisties and Market Research)
5.ด้านคุณภาพในการให้บริการทางการท่องเที่ยว(Quality of Tourism Services)
6.การเป็นผู้ประสานงานและการให้ข้อมูล (Quality and Documentation )

การเข้าร่วมเป็นสมาชิก มี 3 ประเภท คือ
1.สมาชิกสามัญ (Full Member)
2.สมาชิกสมทบ (Associate Member)
3.สมาชิกร่วม (Affliate Member)
2.องค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (Internation Civil Aviation Organization: ICOA)
โดยมีจุดมุ่งหมายขององค์กร คือ ส่งเสริมการบินพลเรือนให้กว้างขวางไปทั่วโลก โดยยึดหลักการและกลยุทธ์ในการวางแผนและพัฒนาการขนส่งทางอากาศ ดังนี้
ข.องค์กรระหว่างประเทศที่ดำเนินการในระดับภูมิภาคโดยภาครัฐ
ค.องค์กรระหว่างประเทศที่ดำเนินการในระดับอนุภูมิภาคโดยภาครัฐ

1.โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
(Economic Cooperation in the Greater Mekong Sub region - GMS)

2.โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอนุทวีปบังคลาเทศ-อินเดีย+เมียนมารื+ศรีลังกา+ไทย
(Bangladesh-India-Myanmar-Sri Lanka-Thailand Economic Cooperation : BIMST-EC)
บทบาทและหน้าที่ด้านการท่องเที่ยวของ BIMST-EC มีดังนี้

1.ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวภาคนอกจากภูมิภาคเดินทางเข้ามาภูมิภาคมากขึ้น
2.ส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการท่องเที่ยวระหว่างประเทศสมาชิกในอนุทวีป
3.เพิ่มพูนด้านความร่วมมือการท่องเที่ยวที่เป็นรูปธรรมกับประเทศในกลุ่มสมาชิก
4.ส่งเสริมการพัฒนาสินค้าทางการท่องเที่ยวใหม่ๆ เช่น พัฒนาตลาดท่องที่ยวรูปแบบ MICE เข้าสู่ภูมิภาค
5.ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว

3.โครงการความร่วมมือลุ่มแม่น้ำโขง-คงคา เป็นโครงการความร่วมมือของ 7 ประเทศได้แก่ กัมพูชา จีน เมียนมาร์ ลาว เวียดนาม ไทย และอินเดีย โดยตกลงให้ร่วมมือกันในด้านวัฒนธรรม การศึกษา การสื่อสาร/การคมนาคม และการท่องเที่ยว ในด้านการท่องเที่ยวได้ตกลงที่จะร่วมมือกันตามสาระสำคัญ

4.โครงการพัฒนาเขตเศรษฐีสามฝ่ายอินโดนิเซีย-มาเลเซีย-ไทย (LMT-GT) เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนบ้านที่มีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ และที่ตั้งภูมิศาสตร์ใกล้ชิดกันประกอบ ด้วยประเทศสมาชิก

1.คณะอนุกรรมการด้านการท่องเที่ยวภายใต้คณะกรรมการว่าด้วยการค้าและการท่องเที่ยวอาเซียน
(Sub-Committee on Tourism of the Committee on Trade and Tourism)สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Assoction of Southeast Asian Nations) หรือที่นิยมเรียกกันโดยย่อว่า “สมาคมอาเซียน”
คณะอนุกรมการดำเนินการด้านการท่องเที่ยว

สมาชิกของคณะอนุกรรมการที่ดำเนินการด้านการท่องเที่ยว (SCOT) ประกอบไปด้วยหกหน่วยงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งชาติของประเทศกลุ่มอาเซียน ประกอบด้วย

คณะอนุกรรมการดำเนินการด้านการท่องเที่ยว มีวัตถุประสงค์ดังนี้

วัตถุประสงค์หลัก คือ การส่งเสริมการท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน ส่งเสริมให้มีความร่วมมือกันอย่างจริงจังระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในกิจการท่องเที่ยว

คณะอนุกรรมการด้านการท่องเที่ยว แบ่งงานออกเป็น 2 กิจกรรมหลัก ได้แก่
1. กิจกรรมการตลาด เป็นกิจกกรมแสวงหาตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเซียน
(ASEAN Promotion Chapter) มีคณะทำงานด้านตลาดรับผิดชอบดำเนินงานในการโฆษณาเผยแพร่การท่องเที่ยว
2. กิจกรรมการวิจัยและพัฒนา การสำรวจ มีคณะทำงานด้านวิจัยในข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ของสภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลกประกอบกันจาก 3 มิติได้แก่
-กิจกรรมระดับโลก
-โปรแกรมและการดำเนินงานเบื้องต้นในระดับภูมิภาค
-ภาระงาน

2.สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (International Air Transport Association : IATA)
สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1945 ในกรุงฮาวานา ประเทศคิวบา
3.สมาคมส่งเสริมการประชุมระหว่างประเทศ (International Congress and Convention Association: ICCA)สมาคมส่งเสริมการประชุมระหว่างประเทศ ก่อตั้งในปี ค.ศ.1963 ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม
4.องค์กรแห่งความห่วงใยในการท่องเที่ยว (Tourism Concern)องค์กรแห่งความห่วงใยในการท่องเที่ยว เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นในปีค.ศ 1989 มีสำนักงานอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
5.สหพันธ์สมาคมบริษัทนำเที่ยวนานาชาติ (Universal Federation of Travel Agent : UFTAA) สหพันธ์สมาคมบริษัทนำเที่ยวนานาชาติ เป็นสมาคมที่ตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1966






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น